You can replace this text by going to "Layout" and then "Edit HTML" section. A welcome message will look lovely here.
RSS

วันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2557

ประเด็นชัดเจนที่ศาลพยายามมองข้าม

ประเด็นชัดเจนที่ศาลพยายามมองข้าม

1. เป็นไปไม่ได้ที่คนภายนอกบ้านพิมานจะเล็ดลอดขึ้นไปบนบ้านพิมานเพื่อปลงพระ ชนม์ในหลวงและหนีไปได้พ้น นายแพทย์สุด แสงวิเชียร ตรวจสอบบาดแผลพบว่า ตรงที่ถูกยิงมีรอยกดของกระบอกปืนเป็นวงกลม แสดงว่าผู้ยิงต้องเอาปืนจ่อยิง ที่หน้าผาก ไม่ปรากฏว่ามุ้งมีรอยทะลุ แสดงว่าคนร้ายต้องเลิกมุ้งออก แล้วจึงเอาปืนจ่อยิงในหลวง โดยผู้ยิงต้องเป็นคนรูปร่างสูง แขนยาว เพราะจากขอบเตียงถึงบาดแผลห่างกันถึง 66 ซม. ถ้ารูปร่างเล็กแขนสั้นจะทำไม่ได้ ขณะที่เรือเอกวัชรชัย ชัยสิทธิเวช รูปร่างเล็กแขนสั้น

ฆาตกรต้องสนิทสนมกับในหลวงอานานมาก เพราะพระองค์ตื่นขึ้นมาและเข้านอนถึงสองครั้งย่อมหลับไม่สนิท ทรงรู้ตัวก่อนที่คนร้ายจะทำการได้

2.คำให้การ มีพิรุธมาก เพราะทุกคนที่อยู่ในบ้านพิมานได้ยินเสียงปืนดังสนั่น ทั้งชั้นล่างและชั้นบน มีแต่เสี่ยเล็กและแม่สังวอนเท่านั้นที่ไม่ได้ยินเสียงปืน ขณะพระพี่เลี้ยงเนื่อง จินตะดุลย์ ให้การว่า ตนอยู่ในห้องเสี่ยเล็ก 20 นาที ก่อนมีเสียงปืน และไม่พบเสี่ยเล็กอยู่ในห้องนั้นเลย แต่เสี่ยเล็กบอกเจ้ารังสิตว่า ตนเองอยู่ในห้องของตนขณะที่ผู้ร้ายยิงปืน

3. มีการทำลายหลักฐานต่างๆ เช่น การสั่งให้พระพี่เลี้ยงเนื่องทำความสะอาดพระศพ ให้หมอนิตย์เย็บบาดแผล มีการผลัดเสื้อผ้าพระศพ หมอนถูกนำไปฝัง มีการย้ายพระศพและยกเอาไปไว้บนเก้าอี้โซฟา การแตะต้องพระศพนั้น มิใช่ว่าจะกระทำได้ง่ายๆ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้านายผู้ใหญ่ก่อนเท่านั้น เมื่อรัฐบาลพลเรือนจะชันสูตรพระศพกลับถูกคัดค้านจากเจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ และแม่สังวอน

4. การฟ้องร้องคดีสวรรคตนี้เกิดขึ้นหลังจากที่พวกทหารก่อรัฐประหารล้มล้าง รัฐบาลเลือกตั้ง ให้พระพินิจชนคดี ซึ่งเป็นพวกของฝ่ายเจ้าได้เป็นอธิบดีกรมตำรวจ และดำเนินการสอบสวน นายชิตเองถูกฉีดยาให้เคลิบเคลิ้ม ถูกขู่เข็ญสารพัด ทั้งคู่รู้ดีว่า พวกเจ้าและพระพินิจฯ จะต้องเล่นงานพวกนายปรีดี พนมยงค์ให้ได้ โดยใช้กรณีสวรรคตเป็นเครื่องมือ ฉะนั้นถึงตนพูดความจริง ก็ไม่มีประโยชน์ ซ้ำจะเป็นอันตรายถึงครอบครัว มีการใช้อำนาจเผด็จการอย่างป่าเถื่อน เช่น ยิงทิ้ง จับกุมคุมขังและทรมานผู้บริสุทธิ์ จึงยอมปิดปาก หวังที่จะได้รับความเมตตาจากศาลยุติธรรม และอย่างน้อยน่าจะได้รับคำความกรุณาจากเสี่ยเล็ก

5. มีการสร้างพยานเท็จว่านายปรีดีและพวก ปรึกษากันว่าจะปลงพระชนม์ที่บ้านพระยาศรยุทธเสนี โดยมีนายตี๋ ศรีสุวรรณ รู้ความลับนี้ ในภายหลัง นายตี๋ ยอมรับว่าตนให้การเท็จ ทั้งยังมีนายวงศ์ เชาวนะกวี ให้การว่าได้ยินนายปรีดีพูดกับตนว่าจะไม่ป้องกันราชบัลลังก์อีกต่อไปแล้ว ทั้งๆที่นายวงศ์มิใช่ผู้ที่สนิทชิดเชื้อกับนายปรีดีแต่อย่างใด

6. ศาลพยายามช่วยเหลือผู้ต้องสงสัยตัวจริง และโยนความผิดให้ผู้อื่น เช่น
-มีเพียงสองคนเท่านั้นคือเสี่ยเล็กและแม่สังวอน ที่ไม่ได้รับการตรวจพิสูจน์เขม่าปืนที่มือ เมื่อนายตำรวจคนหนึ่งเสนอให้ทำการพิสูจน์ด้วย กลับถูกสั่งปลดออกจากราชการ

-ศาลไม่เปิดให้มีการซักค้านพยานบางคนคือเสี่ยเล็กกับแม่สังวอนในการสอบพยาน นอกศาล ในวันที่ 12 และ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 แม้จะให้การสับสน

7. เสี่ยเล็กเป็นคนที่ได้รับประโยชน์จากการสวรรคตของในหลวงอานาน แต่อัยการกลับซักถามเพียงไม่กี่คำ และเลี่ยงที่จะซักถามในสิ่งที่เป็นสาระสำคัญ ขณะศาลฎีกาสั่งลงโทษนายเฉลียว ทั้งๆที่ศาลฎีกาไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่า นายเฉลียวเกี่ยวข้องกับการสวรรคตอย่างไร และใครเป็นฆาตรกรตัวจริง แต่กลับพิพากษาให้ประหารชีวิตนายเฉลียวเพียงเพราะเขาใกล้ชิดกับนาย ปรีดี..............

รูปภาพ : ประเด็นชัดเจนที่ศาลพยายามมองข้าม  

1. เป็นไปไม่ได้ที่คนภายนอกบ้านพิมานจะเล็ดลอดขึ้นไปบนบ้านพิมานเพื่อปลงพระชนม์ในหลวงและหนีไปได้พ้น นายแพทย์สุด แสงวิเชียร ตรวจสอบบาดแผลพบว่า ตรงที่ถูกยิงมีรอยกดของกระบอกปืนเป็นวงกลม แสดงว่าผู้ยิงต้องเอาปืนจ่อยิงที่หน้าผาก ไม่ปรากฏว่ามุ้งมีรอยทะลุ แสดงว่าคนร้ายต้องเลิกมุ้งออก แล้วจึงเอาปืนจ่อยิงในหลวง โดยผู้ยิงต้องเป็นคนรูปร่างสูง แขนยาว เพราะจากขอบเตียงถึงบาดแผลห่างกันถึง 66 ซม. ถ้ารูปร่างเล็กแขนสั้นจะทำไม่ได้ ขณะที่เรือเอกวัชรชัย ชัยสิทธิเวช รูปร่างเล็กแขนสั้น 

ฆาตกรต้องสนิทสนมกับในหลวงอานานมาก เพราะพระองค์ตื่นขึ้นมาและเข้านอนถึงสองครั้งย่อมหลับไม่สนิท ทรงรู้ตัวก่อนที่คนร้ายจะทำการได้ 

2.คำให้การ มีพิรุธมาก เพราะทุกคนที่อยู่ในบ้านพิมานได้ยินเสียงปืนดังสนั่น ทั้งชั้นล่างและชั้นบน มีแต่เสี่ยเล็กและแม่สังวอนเท่านั้นที่ไม่ได้ยินเสียงปืน ขณะพระพี่เลี้ยงเนื่อง จินตะดุลย์ ให้การว่า ตนอยู่ในห้องเสี่ยเล็ก 20 นาที ก่อนมีเสียงปืน และไม่พบเสี่ยเล็กอยู่ในห้องนั้นเลย แต่เสี่ยเล็กบอกเจ้ารังสิตว่า ตนเองอยู่ในห้องของตนขณะที่ผู้ร้ายยิงปืน 

3. มีการทำลายหลักฐานต่างๆ เช่น การสั่งให้พระพี่เลี้ยงเนื่องทำความสะอาดพระศพ ให้หมอนิตย์เย็บบาดแผล มีการผลัดเสื้อผ้าพระศพ หมอนถูกนำไปฝัง มีการย้ายพระศพและยกเอาไปไว้บนเก้าอี้โซฟา การแตะต้องพระศพนั้น มิใช่ว่าจะกระทำได้ง่ายๆ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้านายผู้ใหญ่ก่อนเท่านั้น เมื่อรัฐบาลพลเรือนจะชันสูตรพระศพกลับถูกคัดค้านจากเจ้ารังสิตประยูรศักดิ์และแม่สังวอน

4. การฟ้องร้องคดีสวรรคตนี้เกิดขึ้นหลังจากที่พวกทหารก่อรัฐประหารล้มล้างรัฐบาลเลือกตั้ง ให้พระพินิจชนคดี ซึ่งเป็นพวกของฝ่ายเจ้าได้เป็นอธิบดีกรมตำรวจ และดำเนินการสอบสวน นายชิตเองถูกฉีดยาให้เคลิบเคลิ้ม ถูกขู่เข็ญสารพัด ทั้งคู่รู้ดีว่า พวกเจ้าและพระพินิจฯ จะต้องเล่นงานพวกนายปรีดี พนมยงค์ให้ได้ โดยใช้กรณีสวรรคตเป็นเครื่องมือ ฉะนั้นถึงตนพูดความจริง ก็ไม่มีประโยชน์ ซ้ำจะเป็นอันตรายถึงครอบครัว มีการใช้อำนาจเผด็จการอย่างป่าเถื่อน เช่น ยิงทิ้ง จับกุมคุมขังและทรมานผู้บริสุทธิ์ จึงยอมปิดปาก หวังที่จะได้รับความเมตตาจากศาลยุติธรรม และอย่างน้อยน่าจะได้รับคำความกรุณาจากเสี่ยเล็ก 

5. มีการสร้างพยานเท็จว่านายปรีดีและพวก ปรึกษากันว่าจะปลงพระชนม์ที่บ้านพระยาศรยุทธเสนี โดยมีนายตี๋ ศรีสุวรรณ รู้ความลับนี้ ในภายหลัง นายตี๋ ยอมรับว่าตนให้การเท็จ ทั้งยังมีนายวงศ์ เชาวนะกวี ให้การว่าได้ยินนายปรีดีพูดกับตนว่าจะไม่ป้องกันราชบัลลังก์อีกต่อไปแล้ว ทั้งๆที่นายวงศ์มิใช่ผู้ที่สนิทชิดเชื้อกับนายปรีดีแต่อย่างใด

6. ศาลพยายามช่วยเหลือผู้ต้องสงสัยตัวจริง และโยนความผิดให้ผู้อื่น เช่น
 -มีเพียงสองคนเท่านั้นคือเสี่ยเล็กและแม่สังวอน ที่ไม่ได้รับการตรวจพิสูจน์เขม่าปืนที่มือ เมื่อนายตำรวจคนหนึ่งเสนอให้ทำการพิสูจน์ด้วย กลับถูกสั่งปลดออกจากราชการ

 -ศาลไม่เปิดให้มีการซักค้านพยานบางคนคือเสี่ยเล็กกับแม่สังวอนในการสอบพยานนอกศาล ในวันที่ 12 และ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 แม้จะให้การสับสน 

7. เสี่ยเล็กเป็นคนที่ได้รับประโยชน์จากการสวรรคตของในหลวงอานาน แต่อัยการกลับซักถามเพียงไม่กี่คำ และเลี่ยงที่จะซักถามในสิ่งที่เป็นสาระสำคัญ  ขณะศาลฎีกาสั่งลงโทษนายเฉลียว ทั้งๆที่ศาลฎีกาไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่า นายเฉลียวเกี่ยวข้องกับการสวรรคตอย่างไร และใครเป็นฆาตรกรตัวจริง แต่กลับพิพากษาให้ประหารชีวิตนายเฉลียวเพียงเพราะเขาใกล้ชิดกับนายปรีดี..............

Read Comments
  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น